จาก http://nihon5ch.net/contents/ch5/kosatsu/20.html เขาได้บอกวิธีการเลือกใช้ アスペクト ไว้ดังนี้ครับ
★「~ている」の捉え方
アスペクトを表わす形式の一つで、 ある時点においてその事象が<幅>をもって展開している最中であることを表わす
イメージ (=====)[進行中](======)
~ている เป็น アスペクト หนึ่งที่แสดงถึงการกระทำที่อยู่ระหว่างช่วงที่กำลังทำอยู่
จากภาพก็คือ อยู่ตรงกลางระหว่างการกระำทำ การกระทำนั้นกำลังมุ่งหน้า เดินหน้าต่อไป
★「~ている」と「~ていた」
(1)<過去>のテンスの顕在化
過去のある時点である事象が進行中だった
※その展開が発話時からみて<過去のこと>であると解釈する
[過去の時点] [発話時]
↓ ↓
(======)[進行中](=======) *
<過去>
『山田さんは<その時>何をしていたの?』
『山田さんは<その時>本を読んでいたよ』
การทำให้เป็น テンス อดีต
เหตุการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นในจุดเวลาหนึ่งในอดีต
เมื่อมองจากช่วงเวลาที่พูด เหตุการณ์นั้นก็จะเป็นเรื่องในอดีต ก็จะใช้รูป ~ていた
(2)<非過去:現在>のテンスの顕在化
今の時点である事象が進行中である
※その展開が今現在展開中であると解釈する
[発話時]
↓
*
(======)[進行中](======)
<非過去:現在>
『山田さんは<今>何をしているの?』
『山田さんは<今>本を読んでいるよ』
การทำให้เป็น テンス ไม่อดีต แบบปัจจุบัน
เหตุการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นในเวลานี้ ใช้ ~ている
(3)<非過去:未来>のテンスの顕在化
未来の時点である事象が進行中である
※その展開が発話時より後に展開すると解釈する
[発話時] [未来の時点]
↓ ↓
* (======)[進行中](=======)
<非過去:未来>
『山田さんは<明日の今頃>何をしているかな?』
『山田さんは<明日の今頃>本を読んでいるでしょう』
การทำให้เป็น テンス ไม่อดีต แบบอนาคต
เหตุการณ์ที่กำลังจะเกิดขึ้นในจุดเวลาในอนาคต เหตุการณ์นั้นจะเกิดหลังจากเวลาที่พูด ซึ่งใช้ ~ている เช่นกัน
ส่วน http://www.koryu.or.jp/taipei/ez3_contents.nsf/15aef977a6d6761f49256de4002084ae/d6adae25e970b458492579df0029e9a6/$FILE/KobayashiPowerPoint.pdf ก็อธิบายเรื่อง テンス・アスペクト ดังนี้
Part 1. 超時間 vs 現在 สิ่งที่ไม่เนื่องด้วยเวลา (เป็นจริงเสมอ) กับ ปัจจุบัน
(1) 平地で水は100度で沸騰する。ในที่ราบ น้ำจะเดือดที่อุณหภูมิ 100 องศา
(2) 「あっ、お湯が沸騰している。 火を止めなきゃ。น้ำี้ร้อนกำลังเดือด ต้องดับไฟ
(3) 朝、1時間犬と散歩をします。それから、朝食を食べて、仕事に行きます。これが日課です。(日課の項目を列挙)
ตอนเช้า จะเดินเล่นกับสุนัข 1 ชั่วโมง หลังจากนั้นก็จะกินข้าวเช้าและออกไปทำงาน นี่เป็นกิจวัตรประจำวัน (เป็นการพูดถึงกิจวัตรเป็นข้อๆ)
(4) 朝、1時間犬と散歩をしています。とても気分がよくなります。(現在の時間と関係付けて現実的)
ตอนเช้า จะเดินเล่นกับสุนัข 1 ชั่วโมง และก็จะรู้สึกดีมาก (เป็นความจริงที่มีความสัมพันธ์กับเวลาในปัจจุบัน) กล่าวคือ การเดินเล่นกับสุนัข มีผลต่อการทำให้รู้สึกดี
Part 2. 現在起こっていること เรื่องที่กำลังเกิดในปัจจุบัน 現在の状態 สภาำพปัจจุบัน ใช้「ている}
(1) 雨が降っている。ฝน (กำลัง) ตก
(2) 子供が遊んでいる。 เด็ก (กำลัง) เล่น
(3 )お金が落ちている。เงินตก (สภาพเงินที่ตกอยู่)
(4) 彼はこどもの時に大病をしている。เขาสมัยเป็นเด็กๆป่วยเป็นโรคร้ายแรง
(5)結婚している。 แต่งงานแล้ว (มีสภาพสมรส ไม่โสด)
「~た」と「~ている」
(1) これ、壊れました。อันนี้พังแล้ว (มักพูดเมื่อเริ่มพัง)
(2) これ、壊れています。อันนี้พังแล้ว (พูดเพื่อบอกสภาพว่ามันพัง หลังจากที่มันพังมาแล้ว)
Part 2. 現在の状態 สภาพปัจจุบัน
「る」(状態を示す動詞)กริยาแสดงสภาพต่อไปนี้ ใช้ 「る」
ある、 いる、可能形、~たい、~すぎる、思う、感心する、思われる、感じられる、見える、聞こえる、(匂い/音)がする等
Part 3. 未来に起こること เรื่องที่จะเกิดในอนาคต
「る」(未来を示す動詞)กริยาืัที่แสดงอนาคตใช้ る
A 参加します。
B 参加しようと思います。
C 参加するつもりです。
D 参加するかもしれません。
Part 4. 過去のこと เรื่องอดีต
「た」「ていた」
A 徹夜で、原稿を書いた。 (เมื่อคืน) อดนอนเขียนต้นฉบับ
B 徹夜で、原稿を書いていた。 อดนอนเขียนต้นฉบับ (ทั้งคืนเลย)
ていた จะให้ความรู้สึกถึงระยะเวลาในการกระทำที่ยาวกว่า
ส่วน た จะเป็นเพียงการบอกเล่าเหตุการณ์ในอดีต
超時間 สิ่งที่ไม่เนื่องด้วยเวลา (เป็นจริงเสมอ) ใช้ る
過去 อดีตใช้ た กับ ていた
現在 ปัจจุบัน
進行 กำลังเดินอยู่ใช้ ている
状態 บอกสภาพใช้ る
発見・想起 การค้นพบหรือคิดย้อนกลับไปในอดีตใช้ た
結果状態 สภาพของผลลัพธ์ใช้ ている
歴史 ประวัติศาสตร์ก็ใช้ ている
未来 อนาคตใช้ る กับ ている
และจาก http://www.kyorin-u.ac.jp/univ/user/foreign/nikodebu/lectures(PDF)/4-2.pdf ก็แสดงการใช้ アスペクト ต่างๆในการอธิบายการตกของหินจากหน้าผา ซึ่งผมคิดว่าน่าสนใจมาก
あっ、岩が落ちる! 直近未来・開始 พูดตอนที่มองเห็นว่าหินทำท่ากำลังจะตก (อนาคตที่กำลังจะเกิด การเริ่มต้น)
あっ、落ちた! 直近過去・開始 มันตกลงมาแล้ว (อดีตที่เพิ่งเกิด การเริ่มต้น)
落ちている 現在・進行中 มันกำลังตกอยู่ (กำลังดิ่งลงพื้น) (ปัจจุบันที่กำลังดำเนินอยู่)
落ちる、落ちる! 現在・出来事 บรรยายเหตุการณ์ว่ามันตก (ปัจจุบัน เรื่องราว)
落ちた! 直近過去・完了 มันตกลงมาถึงพื้นแล้ว (อดีตที่เพิ่งเกิด การสิ้นสุด)
落ちている 現在・結果状態継続中 มันตกอยู่ที่พื้น (ปัจจุบัน สภาพของผลลัพธ์ที่แสดงอย่างต่อเนื่อง)
หวังว่าโพสต์ครั้งนี้จะทำให้ผู้อ่านเข้าใจและเห็นภาพความแตกต่างระหว่าง アスペクト แต่ละตัวมากยิ่งขึ้นนะครับ แต่เรื่องของ アスペクト ยังไม่จบแค่นี้แน่นอนครับ โปรดติดตามต่อไปนะครับ =)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น